รัฐธรรมนูญไทย / ทฤษฎี / หนังสือ
  เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. ธนบุรี: ประเสริฐการพิมพ์, 2520.
  กิตติ โหตระกิตย์ อนุสรณ์. พระนคร: กระทรวงมหาดไทย, 2502.
  อนุสรณ์งานประชุมเพลิงศพนายเจริญ ตันติกุล. ธนบุรี: ประเสริฐการพิมพ์, 2511.
  อนุสรณ์หลวงประกอบนิติสาร. พระนคร: ไทยวัฒนาพานิช, 2514.
กวี อิศริวรรณ. ปริทรรศน์รัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ: สุทธิการพิมพ์, 2529.
เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์.  หลักพื้นฐานกฎหมายมหาชนว่าด้วยรัฐ รัฐธรรมนูญและกฎหมาย. กรุงเทพฯ: วิญญูชน (พิมพ์ครั้งที่ 3), 2550.
เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์. หลักพื้นฐานกฎหมายมหาชน. กรุงเทพฯ : วิญญูชน (พิมพ์ครั้งที่ 1), 2555
กิจบดี ชินเบญจภุช. กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2548.
กิตติวัฒน์ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. คู่มือศึกษาพื้นฐานวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม, 2552.
คณะ ส.ส.ร. รวมสาระรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน. กรุงเทพฯ: มติชน, 2541.
คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุมสภาร่าง.                เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ: สำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2550.
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. การควบคุมตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายที่ตราขึ้นโดยองค์กรนิติบัญญัติโดยองค์กรตุลาการ. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2533.
คณิน บุญสุวรรณ (ผู้รวบรวม). คู่มืออ่านรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ : โครงสร้างและหลักการของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ..2540. กรุงเทพฯ: อมรินทร์วิชาการ, 2541.
คณิน บุญสุวรรณ. รัฐธรรมนูญ 2540 แก้ไขเพิ่มเติม 2551 ทางออกประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ, 2551.
คณิน บุญสุวรรณ. รัฐธรรมนูญ 5 กิโล. กรุงเทพฯ : ตถาตา พับลิเคชั่น (พิมพ์ครั้งที่ 1), 2553.
คณิน บุญสุวรรณ. 111 คำถาม-คำตอบ เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ : เอมี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ (พิมพ์ครั้งที่ 2), 2553.
คันถ์ชิด อินทชาติ. กฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สถานสงเคราะห์หญิงปากเกร็ด, 2518.
คันถ์ชิด อินทชาติ. กฎหมายรัฐธรรมนูญ. นครหลวง: โรงพิมพ์คุรุสภา, 2515.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหารของไทย ศึกษาเฉพาะกรณีสภาผู้แทนราษฎร พ..2475-2517. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ , 2520.
ชาญชัย แสวงศักดิ์. กฎหมายรัฐธรรมนูญ : แนวคิดและประสบการณ์ของต่างประเทศ. กรุงเทพฯ : วิญญูชน (พิมพ์ครั้งที่ 2), 2554.
ชาญวุฒิ วัชรพุก และคณะ. กระบวนการฝ่ายนิติบัญญัติ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2519.
ชำนาญ สงวนพงศ์ และอุทัย สงวนพงศ์. กฎหมายรัฐธรรมนูญ. พระนคร: โอเดียนสโตร์, 2514.
ณัฐกร วิทิตานนท์. หลักรัฐธรรมนูญเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
เดโช สวนานนท์ (ผู้รวบรวม). แนวทางศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ..2540. กรุงเทพฯ: บริษัท ดวงกมลสมัย จำกัด, 2541.
เดือน บุญนาค และไพโรจน์ ชัยนาม. ระบอบเผด็จการตามรัฐธรรมนูญ. พระนคร: อักษรนิติ, 2480.
เดือน บุนนาค และไพโรจน์ ชัยนาม. คำอธิบายกฎหมายรัฐธรรมนูญ (รวมทั้งกฎหมายการเลือกตั้งด้วย). พระนคร: นิติสาสน์, 2477.
เดือน บุนนาค และไพโรจน์ ชัยนาม. คำอธิบายกฎหมายรัฐธรรมนูญ : ภาค 1 หลักทั่วไปของกฎหมายรัฐธรรมนูญ. พระนคร: นิติสาสน์, 2477.
เดือน บุนนาค และไพโรจน์ ชัยนาม. คำอธิบายกฎหมายรัฐธรรมนูญ : ภาค 2 รัฐธรรมนูญสยาม. พระนคร: นิติสาสน์, 2477.
เดือน บุนนาค. กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายเลือกตั้งพิสดาร : คำสอนชั้นปริญญาโททางรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ม.ป.ท., 2478.
ธีรเดช นรัตถรักษา. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว 2549: ฉบับคู่มือข้าราชการ & ประชาชนร่วมด้วยช่วยร่างรัฐธรรมนูญ 2550. กรุงเทพฯ: บริษัทไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง จำกัด, 2549.  
ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. ปฏิวัติ 2475 และรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 1), 2555.
นพวรรณ เพ็ชรรัตน์ และสุมนมาลย์ นิ่มเนติพันธ์. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย. กรุงเทพฯ: เจริญผล, 2528.
บรรเจิด สิงคะเนติ. นิติรัฐกับอำนาจในการตราพระราชกำหนด. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2546.
บรรเจิด อินทุจันทร์ยงค์. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. กรุงเทพฯ: แพร่พิทยาอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด, 2528.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และนันทชัย เพียรสนอง.  คำอธิบายวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา, 2548.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. “รัฐธรรมนูญไทย: วิเคราะห์โครงสร้างและกลไก” ในรวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 80 ปี ศาสตราจารย์ไพโรจน์ ชัยนาม. ม.ป.ท., 2535.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. รัฐธรรมนูญน่ารู้. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2542.
บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ.  กฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบคำสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2),     2551.
ประณต นันทิยะกุล. ถอดรหัสรัฐธรรมนูญ 2550. กรุงเทพฯ: แว่นแก้ว, 2550.
ประพันธ์ ทรัพย์แสง. คู่มือนักศึกษาวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: อักษรสัมพันธ์, 2515.
พงศ์เพ็ญ ศกุนตาภัย. แนวคำบรรยายวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ. พระนคร: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2511.
พงศ์เพ็ญ ศกุนตาภัย. รัฐธรรมนูญและการปกครอง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534.
พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. ฐานข้อมูลสารบบกฎหมายรัฐธรรมนูญไทยและข้อบังคับการประชุม: รายงานวิจัย. กรุงเทพฯ: กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2540.
พูนศักดิ์ วรรณพงษ์. ตำราวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2521.
ไพโรจน์ ชัยนาม. กฎหมายรัฐธรรมนูญ : คำสอนชั้นปริญญาตรี. พระนคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2479.
ไพโรจน์ ชัยนาม. คำอธิบายกฎหมายรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ (โดยสังเขป) เล่ม 2 กฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศไทย ตอน 1. พระนคร: โรงพิมพ์อักษรนิติ, 2495.
ไพโรจน์ ชัยนาม. รัฐธรรมนูญ : บทกฎหมายและเอกสารสำคัญในทางการเมืองของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2519.
ไพโรจน์ ชัยนาม. สถาบันการเมืองและกฎหมายรัฐธรรมนูญ ภาค 1 ความนำทั่วไป. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2524.
ภาควิชากฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. เอกสารสรุปผลการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง “ปัญหารัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองในสภาวการณ์ปัจจุบัน”. กรุงเทพฯ: มิตรนราการพิมพ์, 2527.
โภคิน พลกุล. ปัญหาและข้อคิดบางเรื่องจากรัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, ม.ป.ป.
โภคิน พลกุล. ปัญหาและความคิดบางเรื่องในรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2530.
มนตรี รูปสุวรรณ. เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2542.
มนตรี รูปสุวรรณ.  กฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง (พิมพ์ครั้งที่ 8), 2545.
มนตรี รูปสุวรรณ. บทวิเคราะห์ทางวิชาการเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เล่ม 1. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2550.
มนตรี รูปสุวรรณ. บทวิเคราะห์ทางวิชาการเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เล่ม 2. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2551.
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง. คำสอนกฎหมายรัฐธรรมนูญ. ม.ป.ท., ม.ป.ป.
มานิตย์ จุมปา. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง คณะกรรมการเลือกตั้ง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พ..2541. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2542.
มานิตย์ จุมปา. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (.. 2550). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.
มานิตย์ จุมปา. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ..2540. กรุงเทพฯ: นิติธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 3), 2543.
มานิตย์ จุมปา. คำอธิบายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (.. 2540) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 พร้อมข้อเสนอรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (.. 2550). กรุงเทพฯ: นิติธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 8), 2549.
มานิตย์ จุมปา. คำอธิบายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (..2546). กรุงเทพฯ: วิญญูชน (พิมพ์ครั้งที่ 5), 2546.
มานิตย์ จุมปา. รัฐธรรมนูญใหม่มีอะไรใหม่. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันกฎหมายอาญา, 2541.
มานิตย์ จุมปา. ถาม-ตอบ กฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พิมพ์ครั้งที่ 1), 2553.
รุจิรา เตชางกูร และสุรพันธ์ ทับสุวรรณ์.  หลักรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง (พิมพ์ครั้งที่ 10), 2548.
วรพจน์ กนิษฐะเสน. กฎหมายมหาชนเบื้องต้น: ภาคทฤษฎีพื้นฐานทางกฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์ (พิมพ์ครั้งที่ 2), 2521.
วรพจน์ วิศรุตพิชญ์. ข้อความคิดและหลักการพื้นฐานในกฎหมายมหาชน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติธรรม, 2540.
วิจิตรา (ฟุ้งลัดดา) วิเชียรชม. รัฐธรรมนูญและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2536.
วิจิตรา วิเชียรชม. “การควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ” ในรวมบทความ 80 ปี ศาสตราจารย์ไพโรจน์ ชัยนาม. ม.ป.ท., 2535.
วิญญู อังคณารักษ์. คำสอนชั้นปริญญาตรี กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้ง พุทธศักราช 2499. พระนคร: ภักดีประดิษฐ์ (พิมพ์ครั้งที่ 2), 2502.
วิรัช แสนจันทร์. ถาม-ตอบ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (ฉบับสมบูรณ์). ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์ 2552.
วิษณุ เครืองาม. “ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ” ใน เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายมหาชน หน่วยที่ 1 - 7. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (พิมพ์ครั้งที่ 9), 2530.
วิษณุ เครืองาม. กฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: นิติบรรณาการ, 2530.
ศักดิ์ ไทยวัฒน์ และวิญญู อังคณารักษ์. คำสอนชั้นปริญญาตรี กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้ง พุทธศักราช 2504. พระนคร: อักษรเจริญทัศน์, 2504.
สงวน สุทธิเลิศอรุณ. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎมายสื่อมวลชน. กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน์, 2542.
สถาบันนโยบายศึกษา. รวมบทความเกี่ยวกับโครงสร้างและกลไกทางกฎหมายของรัฐธรรมนูญ. ม.ป.ท., 2535.
สมคิด เลิศไพฑูรย์.  กฎหมายรัฐธรรมนูญ : หลักการใหม่ในรัฐธรรมนูญ พ.. 2540. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. ตุลาการรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2536.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ข้อสังเกต และเชิงอรรถเรียงมาตรา. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2537.
สมบัติ จันทรวงศ์ และทินพันธ์ นาคะตะ. “เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญคืออะไร” ใน ประชาธิปไตยของชาวบ้าน. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ, 2516.
สมภพ โหตระกิตย์. กฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ม.ป.ป.
สมภพ โหตระกิตย์. คำสอนชั้นปริญญาตรี กฎหมายรัฐธรรมนูญ (ภาค 1 - 2). กรุงเทพฯ: มงคลการพิมพ์, 2518.
สมภพ โหตระกิตย์. คำสอนชั้นปริญญาตรี กฎหมายรัฐธรรมนูญ (ภาค 1). กรุงเทพฯ: นำเซียการพิมพ์, 2521.
สมภพ โหตระกิตย์. คำสอนชั้นปริญญาตรี กฎหมายรัฐธรรมนูญ (ภาค 2). กรุงเทพฯ: นำเซียการพิมพ์, 2512.
สมยศ เชื้อไทย. “คำอธิบายหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญทั่วไป” ใน โครงการตำราและเอกสารการสอนคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2), 2535.
สมยศ เชื้อไทย. คำอธิบายหลักรัฐธรรมนูญทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์ (พิมพ์ครั้งที่ 2), 2535.
สมยศ เชื้อไทย. หลักรัฐธรรมนูญทั่วไป. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์, 2535.
สมศักดิ์ ศรีมาโนชน์. กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายสำหรับประชาชน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2523.
สฤษดิ์ ธนะรัชต์. กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. พระนคร: กองการพิมพ์สลากกินแบ่งรัฐบาล, 2502.
สวัสดิ์ คำชาย. กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่ประชาชนควรรู้. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2526.
สวัสดิการเลขาธิการรัฐสภา. นิติบัญญัติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521. กรุงเทพฯ: นิติบรรณาการ, 2531.
สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา . รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยระบุมาตราที่เกี่ยวข้องกัน. กรุงเทพฯ: กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา, 2519.
สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา ศูนย์บริการทางวิชาการและกฎหมาย. ความเป็นมาของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการรัฐสภา, 2519.
สิริวัฒน์ สุภรณ์ไพบูลย์. กฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: คุณพิณอักษรกิจ, 2527.
สุภาพ ปริญญเสวี. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญทั่วไปและวิวัฒนาการรัฐธรรมนูญของไทย. กรุงเทพฯ: เทพเนรมิตการพิมพ์, ม.ป.ป.
สุรพล ไตรเวทย์. พระมหากษัตริย์ รัฐธรรมนูญ และประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2549.
สุรพล นิติไกรพจน์. ผลทางกฎหมายของบทเฉพาะกาลเมื่อรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ประกาศใช้. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2540.
เสน่ห์ จามริก. ชุดศึกษาวิจัย การเมืองไทยกับพัฒนาการรัฐธรรมนูญ. สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2529.
หยุด แสงอุทัย. กฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2515.
หยุด แสงอุทัย. คำบรรยายกฎหมายรัฐธรรมนูญ. พระนคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2515.
หยุด แสงอุทัย. คำบรรยายชั้นปริญญาโท หลักรัฐธรรมนูญและกฎหมายเลือกตั้งทั่วไป. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2513.
หยุด แสงอุทัย. คำอธิบาย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511. กรุงเทพฯ: นำเซียการพิมพ์, 2512.
หยุด แสงอุทัย. คำอธิบายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 และธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 ว่าด้วยพระมหากษัตริย์. กรุงเทพฯ: วิญญูชน,   2551.
หยุด แสงอุทัย. คำอธิบายหลักรัฐธรรมนูญทั่วไป. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์ (พิมพ์ครั้งที่ 8), 2526.
หยุด แสงอุทัย. ชุมนุมกฎหมายปกครองตัวบทและคำอธิบายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย, ...ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน, ...ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม, ...ระเบียบข้าราชการพลเรือน, ...บำเหน็จบำนาญข้าราชการ. พระนคร: โรงพิมพ์วิบูลกิจ, 2459.
หยุด แสงอุทัย. หลักรัฐธรรมนูญทั่วไป. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิญญูชน, 2538.
หลวงประเจิดอักษรลักษณ์. กฎหมายรัฐธรรมนูญ: คำสอนชั้นปริญญาตรี. พระนคร: โรงพิมพ์อักษรนิติ , 2474.
อนันต์ พวงงาม. คู่มือเตรียมสอบ กฎหมายปกครอง กฎหมายรัฐธรรมนูญ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ลักษณะปกครองท้องที่. กรุงเทพฯ: สูตรไพศาล, 2516.
อมร จันทรสมบูรณ์. คอนสติติวชั่นแนลลิสม์ (Constitutionalism) : ทางออกของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา, 2537.
อมร จันทรสมบูรณ์. รวมบทความเกี่ยวกับโครงสร้างและกลไกทางกฎหมายของรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สถาบันโยบายศึกษา สมาคมสังคมศาสตร์แห่ง ประเทศไทย, 2535.
อมร จันทรสมบูรณ์. รวมบทความเกี่ยวกับโครงสร้างและกลไกทางกฎหมายของรัฐธรรมนูญในทัศนะของ ศ.ดร.อมร จันทรสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา สมาคมสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย, 2537.
อมร รักษาสัตย์. รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนพร้อมบทวิจารณ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
อัษฎางค์ ปาณิกบุตร. แนวคิดเกี่ยวกับการปฏิรูปการเมือง. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา, 2540.
เอกบุญ วงศ์สวัสดิ์กุล. นิติรัฐ นิติธรรม. กรุงเทพฯ : โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553.