รัฐธรรมนูญไทย / สิทธิเสรีภาพและหน้าที่ / หนังสือ
การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552.
ศาลรัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญของประชาชน. กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2553.
กิตติศักดิ์ ปรกติ. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ตาม พ...ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ..2540. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2541.
กิตติศักดิ์ ปรกติ. สิทธิของบุคคลที่รวมกันเป็นชุมชน. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2550.
กุลพล พลวัน. การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐตามรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550.
เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์. หลักกฎหมายว่าด้วยสิทธิเสรีภาพ . กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2547.
คณะวิจัย ดำรงค์ วัฒนา. สิทธิและหน้าที่ของพลเมืองไทย : คู่มือประชาชน. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น : สถาบันพัฒนานโยบายและการจัดการ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
คณิต ณ นคร. กระบวนการยุติธรรมกับสิทธิพื้นฐานของประชาชน. กรุงเทพฯ : วิญญูชน, 2553.
คณิน บุญสุวรรณ. สิทธิ เสรีภาพ และการคุ้มครองบุคคลตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่. กรุงเทพฯ: ภูมิปัญญา, 2542.
คณิน บุญสุวรรณ. สิทธิเสรีภาพของคนไทย: สิทธิความเป็นคน. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2542.
จรัญ โฆษณานันท์. “รัฐธรรมนูญ 2540” จากศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ “สู่ธัมมิกสิทธิมนุษยชน”.    
ชาญชัย แสวงศักดิ์. คู่มือประชาชนเรื่องข้อควรรู้เกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของประชาชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลปกครอง, 2545.
ชาติปรีดี ฉัตรภูติ. “สิทธิเสรีภาพทรรศนะในทางปฏิบัติ” ในรพี 19. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2519.
นันทวัฒน์ บรมานันท์.  รายงานการวิจัย เรื่องการให้สิทธิประชาชนฟ้องศาลรัฐธรรมนูญ กรณีละเมิดสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2546.
บรรเจิด สิงคะเนติ . หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ : วิญญูชน, 2547.
บรรเจิด สิงคะเนติ และคนอื่นๆ. รายงานการวิจัย เรื่องสิทธิและโอกาสทางการศึกษาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.. 2540 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.. 2542. กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนากฎหมายการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี, 2545.
บรรเจิด สิงคะเนติ และศาตรา โตอ่อน. รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์ เรื่องสิทธิและเสรีภาพ. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2545.
บรรเจิด สิงคะเนติ. รายงานการวิจัยเรื่องการใช้สิทธิทางศาลของบุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญมาตรา 28 ในกรณีที่ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้ว. กรุงเทพฯ: มิสเตอร์ก๊อบปี้ (ประเทศไทย), 2551.
บรรเจิด สิงคะเนติ. หลักความเสมอภาค. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา, 2543.
บรรเจิด สิงคะเนติ. หลักพื้นฐานของสิทธิ เสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญใหม่. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2544.
บันลือ คงจันทร์. สิทธิประชาชนทั่วไป. กรุงเทพฯ: สมาคมสิทธิเสรีภาพประชาชน, 2533.
บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ. รายงานการวิจัย เรื่องการยกสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อใช้สิทธิทางศาล. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2548.
บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ. รายงานการวิจัยเรื่องหลักการใช้อำนาจขององค์กรที่ต้องคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ และเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2546.
ปกรณ์ นิลประพันธ์. สิทธิเสรีภาพทางเศรษฐกิจ. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540): สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
ปัญญา อุดชาชน. รายงานการวิจัย เรื่องสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามรัฐธรรมนูญ: ศึกษากรณีพระราชบัญญัติระหว่างปี พ.. 2540 - 2541. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2543.
ไพโรจน์ พลเพชร.  รายงานฉบับสมบูรณ์ ชุดโครงการวิจัยการติดตามและประเมินผลบังคับใช้รัฐธรรมนูญ เรื่อง สิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2547.
ภัทรศักดิ์ วรรณแสง. หลักการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของประชาชน ตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 / ภัทรศักดิ์ วรรณแสง. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, 2552.
ฤทัย หงศ์ศิริ และมานิตย์ จุมปา. คำอธิบายกฎหมายข้อมูลข่าวสารของทางราชการ. กรุงเทพฯ: นิติธรรม, 2542.
ฤทัย หงส์สิริ. สิทธิเสรีภาพเกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย และสิทธิเสรีภาพในคดีอาญา. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.2540): สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
ลิขิต ธีรเวคิน. ปฏิญญาสิทธิเสรีภาพของประชาชาติไทย : ภายใต้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข. กรุงเทพฯ: แม็ค,   2550.
วนิดา แสงสารพันธ์. หลักรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2548.
วรทิพย์ มีมาก. หน้าที่พลเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2547.
วรพจน์ วิศรุตพิชญ์. สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2534.
วรพจน์ วิศรุตพิชญ์. สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ: ศึกษารูปแบบการจำกัดสิทธิและเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญให้ไว้อย่างเหมาะสม. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย,   2538.
วรพจน์ วิศรุตพิชญ์. สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2543.
วิชา มหาคุณ. “สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทยในประวัติศาสตร์” ในรพี 19. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2519.
วิษณุ เครืองาม. “สิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ” สู่สิทธิมนุษยชน:สิทธิหรือหน้าที่ในประเทศไทยปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535.
วุฒิชัย จิตตานุ. กระบวนการทางกฎหมายและบทบาทของศาลรัฐธรรมนูญในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพพลเมืองตามรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2549.  
ศราวุฒิ ประทุมราช. เครื่องมือคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: คณะทำงานไทยเพื่อจัดตั้งกลไกสิทธิมนุษยชนอาเซียน, 2547.  
สดศรี เผ่าอินจันทร์. เสรีภาพกับจริยธรรมของหนังสือพิมพ์. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2543.
สมชัย วัฒนาการุณ. การใช้สิทธิของประชาชนตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ..2540. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2544.
สำนักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน. คู่มือการดำเนินคดีคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและผลประโยชน์ของประชาชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน, 2533.  
สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ. การอ้างศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์หรือใช้สิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามมาตรา 28. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2544.
สุขุม นวลสกุล. สิทธิและหน้าที่ทางการเมืองของประชาชน. กรุงเทพฯ: สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2523.
สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล และกษมา เดชรักษา. รายงานการวิจัยเรื่องกฎหมายด้านการคุ้มครองสิทธิและ เสรีภาพในกระบวนการยุติธรรมที่ไม่สอดคล้องกับหลักสิทธิพื้นฐานและพันธกรณีระหว่างประเทศรวมทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2547.
อุดม รัฐอมฤต และคนอื่นๆ. รายงานการวิจัย เรื่องการอ้างศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์หรือใช้สิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามมาตรา 28 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2544.