รัฐธรรมนูญไทย / พรรคการเมืองและนักการเมือง / วิทยานิพนธ์
กษมา สุขนิวัฒน์ชัย. แนวทางกฎหมายในการไม่บังคับให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องสังกัดพรรคการเมือง วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
กิจขจร ใจสุข. แบบแผนของการเปลี่ยนพรรคการเมืองของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปัจจุบัน วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2541.
เกษสุดา ภูสะพาน. การพัฒนาระบบพรรคการเมืองของประเทศไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีการให้เงินอุดหนุนแก่พรรคการเมือง. วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.
กิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย . การถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองโดยประชาชน วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2552.
คนึงนิจ แซ่เฮง. ปัญหาการบังคับให้ ส.. สังกัดพรรคการเมือง. วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551.
คมกริช เจริญพัฒนสมบัติ. บทบาทที่เป็นจริงและบทบาทที่คาดหวังของสาขาพรรคการเมืองไทย : ศึกษากรณีพรรคประชาธิปัตย์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2541. 
จิตสิริ สัจจญาณ. การแตกแยกของพรรคการเมืองในรัฐบาลผสม : ศึกษาเปรียบเทียบกรณีรัฐบาลผสมของนายชวน หลีกภัย กับรัฐบาลผสมของนายบรรหาร ศิลปอาชา. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.
ชาญ โชติกิตติกุล. ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองท้องถิ่นกับการขัดกันแห่งผลประโยชน์ : ศึกษากรณีผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองของกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
ชาญศักดิ์ นิลมล. การศึกษาวิเคราะห์มาตรการให้เงินอุดหนุนพรรคการเมือง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2546.
ชิดชัย ธิบดี. การพัฒนาพรรคการเมืองไทย : ศึกษากรณีพรรคประชาธิปัตย์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2548.
เชาวลิต รอดทอง. พรรคการเมืองไทยกับการพัฒนาเป็นพรรคมหาชนศึกษากรณี: พรรคประชาธิปัตย์และพรรคความหวังใหม่. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2544.
ฐิติพร ขำน้ำคู้. หลักประชาธิปไตยโดยทางผู้แทนกับระบบพรรคการเมืองไทย วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2540.
ณัฐนันท์ กัลยาศิริ. หลักประชาธิปไตยภายในพรรคการเมืองกับการคัดเลือกผู้สมัครรับเลือกตั้งของพรรคการเมือง. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2554.
ธนิศร์ ศรีประเทศ. บทบาทของรัฐในการส่งเสริมพัฒนาพรรคการเมือง : ศึกษากรณีการให้เงินสนับสนุนพรรคการเมืองของกองทุนเพื่อการพัฒนาพรรคการเมืองตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.. 2541. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.
นฎา สินอนันต์วณิช. ปัญหาที่เกิดจากการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภาตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
นพดล สุคนธวิท. พรรคการเมืองไทยกับการเมืองท้องถิ่น : ผลประโยชน์และฐานอำนาจ. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
นพปฏล ศุภมงคลพร. มาตรการในการควบคุมการบริจาคให้แก่พรรคการเมือง. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2549.
นิรุจน์ ขำนุรักษ์. การศึกษากลุ่มการเมืองในระบบพรรคการเมืองไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม)คณะพัฒนาสังคมสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2543.
บัญชา จันทร์แม้น. การเปลี่ยนแปลงของพรรคการเมืองไทยภายหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2549.
ประวิทย์ พิทักษ์พันธ์ราช ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการสิ้นสภาพพรรคการเมืองตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.. 2550 มาตรา 91. วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2556.
ปฏิมา สารพัฒน์. การเมืองกับนโยบายของพรรคการเมืองไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีพรรคไทยรักไทยในการเลือกตั้ง พ.. 2544 และ พ.. 2548. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2549.
ไพลิน จั่นสกุล. บทบาทของกลุ่มการเมืองย่อยในพรรคการเมืองใหญ่ : กรณีศึกษากลุ่มวังน้ำเย็น. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2552.
มานพ สุขเขียว. พฤติกรรมของนักการเมืองไทยที่มาจากการเลือกตั้ง ระหว่างปี พ..2523 - 2540. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง,  
รุ่งเกียรติ เอี้ยวสุขสันต์. การสร้างฐานคะแนนเสียงของพรรคการเมือง : ศึกษาเฉพาะกรณีพรรคประชาธิปัตย์ในจังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2550.
ลาภบุญ ผลสมบูรณ์. แนวทางการพัฒนาพรรคการเมืองไทยไปสู่ความเป็นพรรคมวลชน. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2545.
ลิขิต อิศรางกูร. พัฒนาการของพรรคการเมืองไทยภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.. 2550 และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.. 2550. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2551.
วรพจน์ บุญพร การสนับสนุนพรรคการเมืองโดยรัฐ :ศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการสนับสนุนทางการเงินแก่พรรคการเมืองตามพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ..2541. วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2548.
วรานนท์ วิเศษศิริ. หลักประชาธิปไตยภายในพรรคการเมืองกับระบบพรรคการเมืองไทย วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551.
วนิดา เศวตฑิฆัมพร ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการกำหนดให้ประธานกรรมการการเลือกตั้งเป็นนายทะเบียนพรรคการเมือง วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554.
วีรพล พุ่มสงวน. การสนับสนุนพรรคการเมืองโดยรัฐ : ปัญหา การบริหารและการพัฒนา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2549.
เวเนยยพจน์วาทิน ศุกระกาญจน์. พรรคการเมืองไทยกับการพัฒนาเป็นพรรคมหาชน : ศึกษากรณีพรรคประชาธิปัตย์ และพรรคไทยรักไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2550.
สมหญิง ทวีชัย ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญกับ รัฐธรรมนูญในระบบกฎหมายไทย. วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.
สราวุธ ปิตุเตชะ   พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย .. 2540. วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2545.
สันต์ โชคพงษ์อุดมชัย. ทิศทางการพัฒนาพรรคการเมืองตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมายพรรคการเมืองฉบับปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2544.
สิงห์ทอง บัวชุม. การเกิดขึ้นและการล่มสลายของพรรคการเมืองไทย พ.. 2475-2547. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2550.
สิรินาถ วิสุทธิวัชรกุล ปัญหาการยุบพรรคการเมืองในระบบกฎหมายไทย   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553.
สุทธินันท์ สาริมาน การกําหนดตําแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ต้องห้าม   ดําเนินกิจการอันเป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม ตามบทบัญญัติมาตรา 100 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.. 2542   วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
สุพัตรา แก้วประสิทธิ์. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาจักรไทย พุทธศักราช 2540 กับการเสริมสร้างเสถียรภาพระบบพรรคการเมือง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2546.
สุรเดช ชมเกล็ดแก้ว. ปัญหาการยุบพรรคการเมืองที่กระทบต่อเสรีภาพในการจัดตั้งพรรคการเมือง. วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551.
อมรินทร์ ไชยสอาด. การคัดเลือกสมาชิกพรรคการเมืองเพื่อลงสมัครรับเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2549.
อภิวัฒน์ เตมีรักษ์. การเมืองกับนโยบายของพรรคการเมืองไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีพรรคพลังประชาชน ในการเลือกตั้ง พ..2550. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2552.
อาจินต์ นพยอด. พรรคการเมืองกับการเป็นสถาบันทางการเมือง: ศึกษากรณีพรรคประชาธิปัตย์และพรรคชาติไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2549.
อาสินีพัฒน์ บัวสรวง ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการยุบพรรคการเมือง : ศึกษากรณี พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.. 2550 มาตรา 42. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2556.
เอกพงษ์ สารน้อย. พัฒนาการทางการเมืองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.. 2540 ที่มีผลกระทบต่อพรรคการเมืองไทย. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547.