รัฐธรรมนูญไทย / พรรคการเมืองและนักการเมือง / บทความ
กิติกร. ตัวเลขกับความเชื่อของนักการเมือง. มติชนสุดสัปดาห์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 1606 (27 พฤษภาคม - 2 มิถุนายน 2554).
กระมล ทองธรรมชาติ. วิเคราะห์ระบบการเมือง. วารสารกฎหมาย ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2517).
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง. การควบคุมการเงินของพรรคการเมืองตามกฎหมายไทย. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 8 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 46 - 68.
เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง. การยุบพรรคการเมืองเนื่องจากการกระทำผิดกฎหมายเลือกตั้งของผู้บริหารพรรคการเมืองเป็นอันตรายต่อประชาธิปไตย. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 8 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 210 - 255.
ชนินทร์ ติชาวัน. ข้อความคิดบางประการเกี่ยวกับการยุบพรรคและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 8 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 74 - 81.
ชยพล ธานีวัฒน์.    พรรคการเมืองไทย : แนวคิดและการพัฒนาสู่ความเป็นสถาบันทางการเมืองภายใต้พระราชบัญญัติพรรคการเมือง 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 56 ฉบับที่ 12 (ธันวาคม 2551) หน้า 115 - 151.
ชัชวาลย์ ทัตศิวัช. ความผูกพันต่อพรรคทางการเมือง (Party Identification). รัฐสภาสาร ปีที่ 57 ฉบับที่ 12 (ธันวาคม 2552) หน้า 32 - 73.  
ชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์. คำวินิจฉัยของศาลฎีกาในคดียึดทรัพย์นักการเมือง. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2536).
ชำนาญ จันทร์เรือง. ความผิดที่ถึงขั้นจะต้องถูกยุบพรรคการเมือง. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 28 พฤษภาคม 2549.
เชาวนะ ไตรมาศ . อนาคตของพรรคการเมืองในประเทศไทย . www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 5 เมษายน 2547.
เชาวนะ ไตรมาศ. การสร้างสถาบันทางการเมืองกับธรรมาภิบาลของพรรคการเมืองเพื่อความยั่งยืนของประชาธิปไตย. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 16 พฤษภาคม 2549.
เชาวนะ ไตรมาศ. แนวโน้มพรรคการเมืองไทยยุคใหม่. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 6 กันยายน 2547.
โชคชัย สุทธาเวศ.   การยุบพรรคการเมืองเพราะเหตุกรรมการบริหารพรรคทุจริตการเลือกตั้งขัดกับหลักการประชาธิปไตย. รัฐสภาสาร ปีที่ 57 ฉบับที่ 8 (สิงหาคม 2552) หน้า 50 - 59.
ณัฎฐวี ประยุกต์ศิลป์. "ตัวเองมีอุดมการณ์แบบนี้ ไม่งั้นก็เล่นการเมืองไม่ได้ ต้องเป็นคนอื่น ไม่ใช่องุ่น" ปรีชญา ขำเจริญ. เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 966 (3 ธันวาคม 2553).
ณรงค์เดช สรุโฆษิต. หลักนิติธรรมกับการยุบพรรคการเมืองและการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 237 วรรคสอง. วารสารกฎหมาย ปีที่ 29 ฉบับพิเศษ (2554) หน้า 215-255.
ณรงค์เดช สรุโฆษิต.   ความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทนิยาม “พรรคการเมือง”. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 9 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2553, หน้า 506 - 540.
ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540: การกำหนดให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ต้องเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองที่ตนสังกัดไม่น้อยกว่า 90 วัน นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง. รัฐสภาสาร ปีที่ 52 เล่มที่ 10 (ตุลาคม 2547) หน้า 57 - 68.
ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย: การกำหนดระยะเวลาให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องสังกัดพรรคการเมือง. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 7 เล่มที่ 20 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2548).
ทวน ลำปาว. เนวิน' เล่นบทเศร้า เปิดหน้าสู้ 'นายเก่า' โต้เกมปรองดองเพื่อแม้ว. เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 958 (8 ตุลาคม 2553).
ทวน ลำปาว. เหลิม' ยอด 'นกรู้' ไม่เสี่ยงกับเกมแรงเกมเลือด. เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 926 (26 กุมภาพันธ์ 2553).
ทองใบ ทองเปาด์. บทพิสูจน์จริยธรรม ส.ส.จริงหรือเล่น. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ปีที่ 57 ฉบับที่ 39 (18-24 มิถุนายน 2553).
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. บรรทัดฐานทางการเมือง. เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 964 (19 พฤศจิกายน 2553).
นพดล เฮงเจริญ. ศาลรัฐธรรมนูญกับบทบาทที่เกี่ยวข้องกับพรรคการเมืองและการเลือกตั้ง. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 35 - 54.
นิยม ติวุตานนท์. ยังฟ้องนักการเมืองร่ำรวยผิดปกติได้. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2536).
นภาพร แจ่มทับทิม. ครึ่งหนึ่งของพรรค คือความเป็นพันธมิตรฯ เราเคารพความคิดเห็นที่แตกต่าง ทัศนีย์ บุญประสิทธิ์. เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 983 (1 เมษายน 2554).
นิติราษฎร์ บุญโย. เสียงจากคนบึงกาฬ 'เทวฤทธิ์ นิกรเทศ' ยางรุ่งเรือง-การเมืองสองสี.  เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 950 (13 สิงหาคม 2553).
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. ระบบการตรวจสอบทุจริตของผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง. วารสารกฎหมาย ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2540).
บุญศรี มีวงษ์อุโฆษ. การปรับปรุงระบบพรรคการเมือง. วารสารกฎหมาย ปี่ที่ 18 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2541).
เบญจพร วงศ์. แนวคิดสู่การปฏิบัติ 'ปฏิรูปที่ดิน' ต้องเอื้อมให้ไกลกว่านักการเมือง. เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 977 (18 กุมภาพันธ์ 2554).
บุญเสริม นาคสาร. หลักประชาธิปไตยของพรรคการเมืองไทย. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 8 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 168 - 196.
ปราณพงษ์ ติลภัทร. กรณีการเป็นสมาชิกพรรคการเมืองตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 107 (4). รัฐสภาสาร ปีที่ 54 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2549) หน้า 7 - 42.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. การอุดหนุนเงินให้พรรคการเมืองโดยรัฐและการควบคุมเงินบริจาค: การปรับปรุงระบบของประเทศไทยโดยศึกษาเปรียบเทียบกับระบบของประเทศเยอรมัน. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2547) หน้า 411 - 435.
ปัญญา อุดชาชน. ศาลรัฐธรรมนูญกับการยุบรวมพรรคการเมือง. รัฐสภาสาร ปีที่ 52 เล่มที่ 10 (ตุลาคม 2547) หน้า 15-55.
พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย. พรรคไหนจะถูกยุบกันแน่. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550, หน้า 112 - 116.
มรุต วันทนากร. การเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรงกับระบบพรรคการเมือง . www.pub-law.net   เผยแพร่วันที่ 10 มกราคม 2548.
ภาสพงษ์ เรณุมาศ. หลักกฎหมายอันเกิดจากคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ (อดีต - พ.ศ. 2553). วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 13 ฉบับที่ 38 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2554).
มุกดา สุวรรณชาติ. การประลองยุทธ์จบแล้ว ผู้ชนะต้องเป็นพระ-เตรียมปะทะหมู่มาร. มติชนสุดสัปดาห์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 1612 (8-14 กรกฎาคม 2554).
มุกดา สุวรรณชาติ. ยุทธการ 10 ต่อ 1 ในเลือกตั้ง '54 วิเคราะห์ 3 แนวรบใครเหนือกว่า. มติชนสุดสัปดาห์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 1606 (27 พฤษภาคม - 2 มิถุนายน 2554).
มุกดา สุวรรณชาติ. สงกรานต์ปีนี้-สาดโคลน-แทนการยิง หัวหน้าตัวจริง-อยู่ข้างหลัง. มติชนสุดสัปดาห์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 1600 (15-21 เมษายน 2554).
มุกดา สุวรรณชาติ. สถานการณ์ผู้กุมอำนาจรัฐวันนี้ รุกอยู่กับที่เพื่อชนะเลือกตั้ง. มติชนสุดสัปดาห์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 1588 (21-27 มกราคม 2554).
ราษฎร์ บำรุง. ละคร 'ขาใหญ่' เขาใหญ่ 'สุวิทย์-โสภณ' คนกันเอง. เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 941 (11 มิถุนายน 2553).
ลูกชาวนา. มหาสารคามโมเดล 'จัดตั้ง ยั้งกระแส' ต้าน 'สร้างกระแส แห่ทักษิณ'. เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 993 (10 มิถุนายน 2554).
วัชรา ไชยสาร. สาระสำคัญว่าด้วยพรรคการเมือง รัฐสภา และคณะรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 4 (2553) หน้า 29-58.
วัชรา ไชยสาร. สาระสำคัญว่าด้วยพรรคการเมือง รัฐสภา และคณะรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. รัฐสภาสาร. ปีที่ 58 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2553) หน้า 29 - 58.  
วัส ติงสมิตร.   ใช้กฎหมายย้อนหลังเพื่อเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งเมื่อยุบพรรคการเมือง. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 7 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 123 - 129.
วัส ติงสมิตร.   ยุบพรรคการเมืองและตัดสิทธิเลือกตั้ง. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 8 กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2552, หน้า 69 - 73.       
วิษณุ วรัญญู. ถอดความการประชุมสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง คำวินิจฉัยของศาลฎีกาที่ 913/2536 : กรณียึดทรัพย์นักการเมืองโดยประกาศ ร... ฉบับที่ 26. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2536).
วิสุทธิ์ โพธิ์แท่น. พรรคการเมืองไทย: ทารกที่ไม่มีโอกาสเติบโต?. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 (ธันวาคม 2526) .
สิริวิชญ์. รายได้ปีละ 1.2 ล้าน งบฯ หัวร์เมืองนอกปีละ 2 แสน ยังไม่พอสำหรับนักการเมือง?. เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 968 (17 ธันวาคม 2553).
สิทธิกร ศักดิ์แสง. วิเคราะห์พรรคการเมืองกับกฎหมายพรรคการเมืองของประเทศไทยในอดีต - ปัจจุบัน. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 7 (กรกฎาคม 2553) หน้า 76 - 111.
สุจิต บุญบงการ. กฎหมายพรรคการเมือง: โอกาสและข้อจำกัดในการส่งเสริมและพัฒนาพรรคการเมือง. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ   ปีที่ 5 เล่มที่ 15 (กันยายน - ธันวาคม2546)
สุนทร วาที. การเลือกตั้งแบบสัดส่วนในการเมืองไทย. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ปีที่ 58 ฉบับที่ 42 ( 8-14 กรกฎาคม 2554).
สุนทร วาที. นักการเมืองญี่ปุ่นกับนักการเมืองไทย.  สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ปีที่ 57 ฉบับที่ 38 (11-17 มิถุนายน 2553).
สุนีย์ คำสุข. ปัญหาการเมืองประชาธิปไตยรัฐสภาไทย: กลุ่มพลังทางสังคม พรรคการเมือง และการเลือกตั้ง. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 7 (กรกฎาคม 2553) หน้า 47 - 75.  
สุรพล นิติไกรพจน์. ข้าราชการการเมืองและผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2536).
สุรพล นิติไกรพจน์. ปัญหาความชอบธรรมทางกฎหมายของ “คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สิน”. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2536).
เสถียร วิริยะพรรณพงศา. มรดกการเมือง. เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 990 (20 พฤษภาคม 2554).
หทัยกาญจน์ ตรีสุวรรณ. จากตำนาน'พญานาค 2 หัว' สู่ 'แก๊ง 3 พี' สัมพันธ์ลึกไม่ลับ 'พินิจ-ปรีชา-ไพโรจน์' กับอนาคต'กบฏพรรคร่วม'หลังผ่าน'ศึก 3 เส้า'. มติชนสุดสัปดาห์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 1556 (11-17 มิถุนายน 2553).
อนันต์ อนันตกูล. ความสัมพันธ์ระหว่างนักการเมือง กับข้าราชการประจำ. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีสาร ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 (ม.ค.2553).
อภิวัฒน์ สุดสาว. ปัญหาการยุบพรรคการเมือง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๓๗ วรรคสอง. จุลนิติ ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 (2555) หน้า 107-114.
อมร จันทรสมบูรณ์. ข้อบังคับของพรรคทางเลือกที่สาม. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 10 มกราคม 2548.
อมร จันทรสมบูรณ์. แนวนโยบายของพรรคทางเลือกที่สาม. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่  10 มกราคม 2548.
อมร รักษาสัตย์. การยึดทรัพย์สินนักการเมืองจากทัศนะทางการเมืองและรัฐศาสตร์. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2536).
อรรณพ ลิขิตจิตถะ นักการเมืองกลัวอะไร จึงจะไม่ทุจริต วารสารพรรคการเมืองสัมพันธ์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2555).
อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์. กึ๋นของนักเลือกตั้ง. มติชนสุดสัปดาห์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 1610 (24-30 มิถุนายน 2554).
อุดม รัฐอมฤต. ความเป็นมาของการศึกษาวิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลฎีกา กรณีกฎหมายยึดทรัพย์นักการเมือง. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2536).