รัฐธรรมนูญไทย / พรรคการเมืองและนักการเมือง / หนังสือ
กนก วงษ์ตระหง่าน. พรรคการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536.
เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์. หลักพื้นฐานกฎหมายมหาชนว่าด้วย รัฐ รัฐธรรมนูญและกฎหมาย. กรุงเทพฯ : วิญญูชน (พิมพ์ครั้งที่ 5 แก้ไขเพิ่มเติม), 2554.
โกเมศ ขวัญเมือง.   กฎหมายว่าด้วยระบบพรรคการเมือง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง (พิมพ์ครั้งที่ 2), 2543.
ชาญวุฒิ วัชรพุกก์. พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2518.
เชาวนะ ไตรมาศ นโยบายพรรคการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา, 2547.
เชาวนะ ไตรมาส. พรรคการเมืองไทย: ภูมิหลังทางโครงสร้าง หน้าที่ และพัฒนาการทางสถาบัน. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายการศึกษา, 2540.
โชติ มหาชัยฤทธิพร. นักการเมืองพันธุ์ใหม่ : ทางรอดประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, 2553.
ณรงค์เดช สรุโฆษิต. แนวทางปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการยุบพรรคการเมือง. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ., 2555.
ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์. นักการเมืองไทย: จริยธรรม ผลประโยชน์ทับซ้อน การคอรัปชั่น: สภาพปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ แนวทางแก้ไข. กรุงเทพฯ: สายธาร, 2553.
บรรเจิด สิงคะเนติ. ปฏิรูปการเมือง ครั้งที่ 2 พรรคทางเลือกที่สามเพื่อการปฏิรูปการเมืองครั้งใหม่ตามแนวความคิดของ ศ.ดร.อมร จันทร สมบูรณ์. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2547.
บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ. รายงานการวิจัยแสริมหลักสูตรเรื่องแนวทางการปรับปรุงระบบการเลือกตั้งและพรรคการเมือง. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.
พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว และคนอื่นๆ.   รายงานฉบับสมบูรณ์ ชุดโครงการวิจัยการติดตามและประเมินผลบังคับใช้รัฐธรรมนูญ เรื่องบทบาทการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง พรรคการเมือง ผู้สมัครรับเลือกตั้ง และประชาชนในการเลือกตั้งระบบใหม่ตามเจตนารมณ์รัฐธรรมนูญ. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2547.
พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว.  บทบาทของพรรคการเมืองไทยในการจัดตั้งรัฐบาลผสม. กรุงเทพฯ: กองการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2541.
พัฒนะ เรือนใจดี. กฎหมายว่าด้วยระบบพรรคการเมือง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2548.
มานิตย์ จุมปา. พรรคการเมืองไทย.สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (..2540). นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2544.
วิทยา นภาศิริกุลกิจ และสุรพล ราชภัณฑารักษ์. พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2544.
วิษณุ เครืองาม. หลังม่านการเมือง. กรุงเทพฯ : มติชน, 2554.
วิษณุ เครืองาม. เล่าเรื่องผู้นำ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน (ครั้งที่ 2), 2555.
วิษณุ เครืองาม. โลกนี้คือละคร. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน (ครั้งที่ 3) 2554.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. การตรวจสอบนักการเมืองตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2544.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. การยุบพรรคการเมืองในประเทศไทย: หนังสือที่ระลึก 68 ปี รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา, 2552.  
สุจิต บุญบงการ. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 : พรรคการเมือง. นนทบุรี : วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า (พิมพ์ครั้งที่ 1), 2552.
สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล. สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 : การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง. นนทบุรี : วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า, 2552.
สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. คู่มือการจัดตั้งพรรคการเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักกิจการพรรคการเมืองและการออกเสียงประชามติ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2542.
สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. คู่มือการปฏิบัติงานของพรรคการเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง., 2546.
สิงห์ทอง บัวชุม. การล่มสลายของพรรคการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: The Best Center Intergroup Co., Ltd., 2552.
อมร รักษาสัตย์. นักการเมืองรุ่นใหม่จะช่วยสร้างสังคมประชาธิปไตยตามกรอบรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนได้อย่างไร. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2544.