รัฐธรรมนูญไทย / การเลือกตั้ง / บทความ
กมลชัย รัตนสกาววงศ์. การกระทำที่ต้องห้ามในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา. วารสารกฎหมาย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 (พฤศจิกายน 2543).
กวี บ้านไท. เลือกตั้งพม่ากับผลกระทบต่อไทย. เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 962 (5 พฤศจิกายน 2553).
กำชัย จงจักรพันธ์. การแนะนำตัวกับการหาเสียง ความแตกต่างบนเส้นทางวุฒิสภา. จดหมายข่าวศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 (เล่มที่ 47) ประจำเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2549 หน้า 7 - 18.
โกเมศ ขวัญเมือง. ปัญหาการจัดตั้งศาลเลือกตั้ง. รัฐสภาสาร ปีที่ 55 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2550) หน้า 70 - 134.  
จรูญ ศรีสุกใส. คดีเลือกตั้ง ตอน 1: ใบเหลือง - ใบแดง. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 25 กรกฎาคม 2548.
จรูญ ศรีสุกใส. คดีเลือกตั้ง ตอน 2: การตรวจสอบการเลือกตั้งโดยองค์กรตุลาการ. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 1 กันยายน 2549.
ชนินทร์ ติชาวัน.   ข้อสังเกตเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตยและการเลือกตั้ง. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550, หน้า 355 - 362.
ชัชวาลย์ ทัตศิวัช. การเลือกตั้งกับระบอบประชาธิปไตย. รัฐสภาสาร ปีที่ 54 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2549) หน้า 69 - 121.
เชาวนะ ไตรมาศ. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 2: ศาลรัฐธรรมนูญไทยในสถานการณ์ปฏิรูปการเมือง กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2546, หน้า 163 - 190.
ฐากูร จุรินทร. การกำหนดเขตเลือกตั้ง ... เขตละหนึ่ง สาม หรือสอง. รัฐสภาสาร ปีที่ 58 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2553) หน้า 77 - 100.  
ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 : การกำหนดให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ต้องเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองที่ตนสังกัดไม่น้อยกว่า 90 วัน นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง. รัฐสภาสาร ปีที่ 52 เล่มที่ 10 (ตุลาคม 2547) หน้า 57 - 68.
ตวงรัตน์ เลาหัตถพงษ์ภูริ. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย: การกำหนดระยะเวลาให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องสังกัดพรรคการเมือง. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 7 เล่มที่ 20 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2548)
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. การเลือกตั้งในระบบสัดส่วน กับการพัฒนาประชาธิปไตย. เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 956 (24 กันยายน 2553).
นพดล เฮงเจริญ. ศาลรัฐธรรมนูญกับบทบาทที่เกี่ยวข้องกับพรรคการเมืองและการเลือกตั้ง. รวมบทความทางวิชาการของสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 3: ศาลรัฐธรรมนูญกับการพัฒนาประชาธิปไตยในระบบนิติรัฐ กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2547, หน้า 35 - 54.
บรรเจิด สิงคะเนติ.   บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อ 2 เมษายน 2549 (คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 9/2549). www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 20 สิงหาคม 2549.  
บุญศรี มีวงษ์อุโฆษ. ปัญหาการซื้อเสียง ขายเสียง แก้ไขไม่ได้จริงหรือ. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2535).
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. ปัญหาของระบบเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ 2550. รัฐสภาสาร ปีที่ 56 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2551) หน้า 7 - 63.  
ปัญญา อุดชาชน. การแนะนำตัวผู้สมัครสมาชิกวุฒิสภา. รัฐสภาสาร   ปีที่ 54 ฉบับที่ 4 (เมษายน 2549) หน้า 7-24.  
พนม เอื่ยมประยูร. การคัดค้านการเลือกตั้ง. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2531).
พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย. กระแสพระราชดำรัสบทสะท้อนในการปฏิรูปการเลือกตั้งไทยในยุคปัจจุบัน. รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550,หน้า 60 - 66.  
ไพฑูรย์ บุญวัฒน์. การจัดตั้งองค์กรเพื่อสนับสนุนการเลือกตั้งให้เป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรม. วารสารกฎหมาย ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม 2540).
ไพฑูรย์ บุญวัฒน์. ระบบการเลือกตั้งที่ลดการซื้อเสียงและให้โอกาสคนดีสมัครเลือกตั้ง. วารสารกฎหมาย ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2541).
โภคิน พลกุล. ระบบเลือกตั้ง. วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 (ธันวาคม 2526).
มุกดา สุวรรณชาติ. การเลือกตั้ง 2554 ยกที่ 7 .... จุดหักเหของแนวทางการต่อสู้. มติชนสุดสัปดาห์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 1595 (11 - 17 มีนาคม 2554).
รัชนี อังตระกูล.   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540: ความเป็นมา กระบวนการตรารัฐธรรมนูญ การเลือกตั้งตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ และการแก้ไขรัฐธรรมนูญ. รัฐสภาสาร ปีที่ 54 ฉบับที่ 10 (ตุลาคม 2549) หน้า 31 - 68.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์.   การเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งย้อนหลัง หลักนิติรัฐ และศักดิ์ศรีนักกฎหมายไทย. หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน ฉบับวันที่ 25 ตุลาคม 2549.
วัชรา ไชยสาร วิกฤตทางการเมืองไทย : การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป 2550 กับ 2554. รัฐสภาสาร ปีที่ 60 ฉบับที่ 3 (มีนาคม 2555).
วัส ติงสมิตร. คดีเกี่ยวกับการเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ. ศาลยุติธรรมปริทัศน์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 (มิถุนายน - กรกฎาคม 2553).
สินีพร มฤคพิทักษ์. "เลือกตั้งใหม่ภายใต้โครงสร้างและเงื่อนไขเดิม ไม่ใช่คำตอบของบัญหา" วุฒิพงษ์ เพรียบจริยวัฒน์.  เนชั่นสุดสัปดาห์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 936 (7 พฤษภาคม 2553).
สถาพร สันติบุตร. ผู้มีบทบาทอำนาจหน้าที่ในการเลือกตั้งท้องถิ่น. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 5 เล่มที่ 11 (มกราคม - เมษายน 2546)
แสงไทย เค้าภูไทย. เขาจะทำอะไรกันหลังวันเลือกตั้ง'54. ดอกเบี้ย ปีที่ 30 ฉบับที่ 360 (มิถุนายน 2554).
สมใบ มูลจันที. กระบวนการเข้าสู่ตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภา: กรณีศึกษาร่างรัฐธรรมนูญของสภาร่างรัฐธรรมนูญ 2540. รัฐสภาสาร ปีที่ 54 ฉบับที่ 8 (สิงหาคม 2549) หน้า 7-37. 
สโรช สันตะพันธ์. มาตรการในการจัดการเลือกตั้งให้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม: ใบเหลืองและการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง. www.pub-law.net เผยแพร่วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2548.
เสนีย์ คำสุข. รัฐธรรมนูญ พ.. 2550 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภากับปัญหาการสร้างประชาธิปไตยของไทย. รัฐสภาสาร ปีที่ 56 ฉบับที่ 8 (สิงหาคม 2551) หน้า 28 - 73.  
สุเจน กรรพฤทธิ์. การเลือกตั้งหลังความขัดแย้ง (post-conflict election). สารคดี ปีที่ 27 ฉบับที่ 315 (พฤษภาคม 2554).
อภิวัฒน์ สุดสาว. กระบวนการทางการเมืองตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญภายหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอันเป็นการเลือกตั้งทั่วไป. จุลนิติ ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 (2554) หน้า 143-152.
อโณทัย วัฒนาพร.   พรรคการเมืองกับเขตเลือกตั้ง: กรณีศึกษาเปรียบเทียบพรรคไทยรักไทยกับพรรคประชาธิปัตย์ในจังหวัดเชียงใหม่. รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 28 ฉบับพิเศษ (2550) หน้า 235 - 259.