หน้าแรก บทความสาระ
833 เรื่อง หน้าที่ 20 จากทั้งหมด 167 หน้า
11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20
 
   
 
 
หน้าที่โดยปริยาย: คำอธิบายในห้วงวิกฤติ
02 ธันวาคม 2556
 
 
อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายนั้นมิได้หมายความถึงเฉพาะอำนาจหน้าที่ที่เขียนไว้ในตัวบทกฎหมายเท่านั้น แต่ยังมีหน้าที่อีกประการหนึ่งที่เกิดขึ้นโดยผลของอำนาจหน้าที่ที่เขียนไว้ในกฎหมายซึ่งในทางกฎหมายเรียกหน้าที่นี้ว่า "หน้าที่โดยปริยาย" (Implied duty)
ทางออกประเทศไทย : เชียงใหม่จัดการตนเอง
01 ธันวาคม 2556
 
 
ในขณะที่ผู้คนกำลังตกอยู่ในสภาวะการณ์ตึงเครียดจากวิกฤติการณ์ของมวลชนที่มีความคิดเห็นตรงกันข้ามอย่างสุดขั้ว ต่างฝ่ายต่างพยายามขับไล่และปกป้องผู้ที่กำลังครองอำนาจรัฐอยู่ในปัจจุบันโดยหลงลืมไปว่าปัญหารากเหง้าที่แท้จริงของประเทศไทยนั้นคือปัญหาของการรวมศูนย์อำนาจอยู่ที่ส่วนกลาง
วิเคราะห์คำพิพากษาฎีกาที่ 2281/2555 :สถานะของพยานหลักฐานที่ได้มาโดยมิชอบโดยเอกชน
01 ธันวาคม 2556
 
 
ในทางกฎหมายพยานหลักฐานคดีอาญา บทบัญญัติที่ทำหน้าที่เป็นบทตัดพยานหลักฐาน (Exclusionary Rule) ที่สำคัญบทหนึ่งก็คือ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 226/1 ซึ่งบัญญัติว่า “ในกรณีความปรากฏแก่ศาลว่าพยานหลักฐานใดเป็นพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบแต่ได้มาเนื่องจากการกระทำโดยมิชอบ หรือเป็นพยานหลักฐานที่ได้มาโดยอาศัยข้อมูลที่เกิดขึ้นหรือได้มาโดยมิชอบ ห้ามมิให้รับฟังพยานหลักฐานนั้น เว้นแต่การรับฟังพยานหลักฐานนั้นจะเป็นประโยชน์ต่อการอำนวยความยุติธรรมมากกว่าผลเสียอันเกิดจากผลกระทบต่อมาตรฐานของระบบงานยุติธรรมทางอาญาหรือสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของประชาชน…..”
ร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ เป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินหรือไม่
01 ธันวาคม 2556
 
 
กฎหมายเกี่ยวด้วยการเงิน หรือตามที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 อันใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันใช้คำว่า “ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน”นั้น การเสนอร่างพระราชบัญญัติประเภทนี้ให้รัฐสภาพิจารณาจะกระทำได้ต่อเมื่อมีคำรับรองของนายกรัฐมนตรีประกอบด้วยเท่านั้น ซึ่งมาตรา 143 แห่งรัฐธรรมนูญได้ให้คำนิยามของ “ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน” ไว้ 4 อนุมาตรา และการพิจารณาว่าร่างพระราชบัญญัติใดเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินหรือไม่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อกระบวนการนิติบัญญัติ เพราะจะมีผลต่อความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของพระราชบัญญัติในกรณีที่ร่างพระราชบัญญัตินั้นผ่านการพิจารณาและถูกประกาศใช้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัยข้าราชการส่วนท้องถิ่นในประเทศฝรั่งเศส
01 ธันวาคม 2556
 
 
การจัดทำบริการสาธารณะให้สำเร็จผลนั้น รัฐจำต้องอาศัยกลไกหรือเครื่องมือสำคัญประการหนึ่ง คือ บุคลากรของรัฐ (Fonction publique) ซึ่งอาจจะถูกจำแนกได้เป็นหลายประเภท ได้แก่ ข้าราชการ (le fonctionnaire) ซึ่งถือเป็นบุคลากรกลุ่มใหญ่ นอกเหนือจากบุคลากรที่เป็นข้าราชการแล้ว ก็ยังมีบุคลากรที่มีสถานะเป็น เจ้าหน้าที่ (agent) ซึ่งมีอยู่หลายประเภท
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544