หน้าแรก ผลงานของนักวิชาการ
ศ.ดร. วรเจตน์ ภาคีรัตน์
11 เมษายน 2550 11:26 น.
 
ผลงานของนักวิชาการในสาขากฎหมายมหาชน/รศ.ดร.วรเจตน์ ภาคีรัตน์
       
       คุณวุฒิ
              - Doktor der Rechte (summe cum laude) มหาวิทยาลัย Goettingen สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
        
       ตำแหน่ง
              - อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
              - หัวหน้าหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
              - รองผู้อำนวยการโครงการอบรมประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
        
       บทความทางวิชาการ (บางส่วน)
       
  1. ข้อพิจารณาเปรียบเทียบองค์กรวินิจฉัยคดีปกครองของ สาธารณรัฐฝรั่งเศสและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2538) หน้า 708 - 723.

  2.        
           
  3. ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญกับศาลรัฐธรรมนูญ. ในรวมบทความทางวิชาการ เนื่องในโอกาสครบรอบ 90 ปี ธรรมศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์, พ.ศ. 2541 หน้า 191 - 201.

  4.        
           
  5. ระบบและวิธีศึกษากฎหมายในสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน. ในหนังสือที่ระลึก 100 ปี โรงเรียนกฎหมาย, พ.ศ. 2541 หน้า 207 - 218.

  6.        
           
  7. ข้อความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองในระบบกฎหมายเยอรมัน. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2542) หน้า 262 - 276.

  8.        
           
  9. การสิ้นสุดความเป็นรัฐมนตรีตามมาตรา 216(4) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2542) หน้า 316 - 325.

  10.        
           
  11. ระบบแห่งบรรทัดฐานทางกฎหมาย. ในรพี 42, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, หน้า 35 - 44.

  12.        
           
  13. การ เลือกตั้งในรัฐเสรีประชาธิปไตย. ในวารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 1 เล่มที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2542) หน้า 95 - 105.

  14.        
           
  15. คำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการกรณี ITV กับผลผูกพันที่มีต่อคู่สัญญา. ใน www.pub-law.net, 17 พฤษภาคม 2542.

  16.        
           
  17. วิเคราะห์ข้อกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา. ในวารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 2 เล่มที่ 4 (มกราคม - เมษายน 2543) หน้า 32 - 39.       

  18.        
           
  19. วิเคราะห์ข้อกฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา. ในวารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 2 เล่ม 4 (มกราคม - เมษายน, 2543)

  20.        
           
  21. เงื่อนไขการตรากฎหมายจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชน: มาตรการในการควบคุมตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2543) หน้า 185 - 194.

  22.        
           
  23. การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร: ปัญหาและแนวทางแก้ไขในส่วนที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง. ในเอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง การเลือกตั้งใหม่: ปัญหาและแนวทางแก้ไข จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง วันพฤหัสบดีที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2543 โรงแรมโซลทวิน ทาวเวอร์ กรุงเทพฯ, หน้า 11.

  24.        
           
  25. ผลบังคับผูกพันของคำสั่งทางปกครอง. ในอาจาริยบูชา รวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 72 ปี ศาสตราจารย์ ดร.อมร จันทรสมบูรณ์, สมาคมกฎหมายมหาชนแห่งประเทศไทย, 2545.

  26.        
           
  27. หลักเกณฑ์สำคัญเกี่ยวกับวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญในสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน. ในวารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 4 เล่ม 12 (กันยายน - ธันวาคม 2545).

  28.        
           
  29. ความรับผิดทางละเมิดของฝ่ายปกครองตาม Common Law ในระบบกฎหมายอังกฤษ. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 32 เล่ม 3 (กันยายน 2545).

  30.        
           
  31. ปัญหาการลงมติในประเด็นของคดีในคดีรัฐธรรมนูญ. ใน www.pub-law.net, 17 มีนาคม 2546.

  32.        
           
  33. ผลของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 47/2547 กับตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน. ใน www.pub-law.net, 13 พฤศจิกายน 2548.

  34.        
           
  35. คำตอบสำหรับบทโต้แย้งทางวิชาการกรณีตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินกับการใช้และการตีความรัฐธรรมนูญ (ตอนที่ 1). ใน www.pub-law.net, 11 ธันวาคม 2548.

  36.        
           
  37. คำตอบสำหรับบทโต้แย้งทางวิชาการกรณีตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินกับการใช้และการตีความรัฐธรรมนูญ (ตอนที่ 2). ในwww.pub-law.net, 25 ธันวาคม 2548.

  38.        
           
  39. การเพิกถอนกฎในระบบกฎหมายปกครองเยอรมัน. ในวารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2548) หน้า 1 - 17.

  40.        
           
  41. การฟ้องคดีขอให้ตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของกฎในระบบกฎหมายเยอรมัน. ในวารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2548) หน้า 1 - 17.

  42.        
           
  43. การเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งย้อนหลัง หลักนิติรัฐและศักดิ์ศรีนักกฎหมายไทย. ในหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน ฉบับวันที่ 25 ตุลาคม 2549.

  44.        
           
  45. แนวคิดและหลักเกณฑ์การแบ่งแยกสัญญาทางแพ่งและสัญญาทางปกครอง. ในวารสารผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (เมษายน - กันยายน 2550) หน้า 149 - 168.

  46.        
           
  47. กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ กับความมั่นคงของรัฐ. ในฟ้าเดียวกัน ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน 2552) หน้า 110 - 118

  48.        
           
  49. นิติรัฐกับความยุติธรรมทางสังคม. ในฟ้าเดียวกัน ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม - ธันวาคม 2552) หน้า 66 - 90.

  50.        
           
  51. การร้องทุกข์ทางรัฐธรรมนูญในระบบกฎหมายเยอรมัน: วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยประชาชนต่อศาลรัฐธรรมนูญในระบบกฎหมายไทย. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 39 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2553) หน้า 469 - 509.

  52.        
           

       หนังสือ (บางส่วน)
       

           
  1. รายงานการวิจัย เรื่องวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ ศึกษากรณีศาลรัฐธรรมนูญต่างประเทศกับศาลรัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2545.

  2.        
           
  3. วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญศึกษาเปรียบเทียบกรณีของศาลรัฐธรรมนูญต่างประเทศกับศาลรัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2546.

  4.        
           
  5. ความรับผิดทางละเมิดของฝ่ายปกครองตาม Common Law ในระบบกฎหมายอังกฤษ. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2546.

  6.        
           
  7. หลักการพื้นฐานของกฎหมายปกครองและการกระทำทางปกครอง. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2546.

  8.        
           
  9. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองในระบบกฎหมายเยอรมัน. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2549.

  10.        
           
  11. รายงานการวิจัย เรื่องการเปลี่ยนแปลงแนวคำวินิจฉัย และผลผูกพันของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ: ศึกษากรณีศาลสูงสุดของสหรัฐอเมริกาและศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมัน. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550. 7. กฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า, 2550. 8. การเปลี่ยนแปลงแนวคำวินิจฉัยและผลผูกพันของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ: ศึกษากรณีศาลสูงสุดของสหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550. 9. รายงานการวิจัย เรื่ององค์กรอิสระตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการวิจัยและสัมมนา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.

  12.        
           



 
 
ศ.ดร. นันทวัฒน์ บรมานันท์
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
ศ. ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์
รศ. ดร. วรพจน์ วิศรุตพิชญ์
ดร.ชาญชัย แสวงศักดิ์
   
 
 
 
รศ.ดร. บรรเจิด สิงคะเนติ
ดร.ชาญชัย แสวงศักดิ์
ศ.ดร. นันทวัฒน์ บรมานันท์
ศ. ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
ศ. ดร.อมร จันทรสมบูรณ์
ศ. ชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์
ศ.ดร. สุรพล นิติไกรพจน์
รศ.ดร. โภคิน พลกุล
รศ. ดร. วรพจน์ วิศรุตพิชญ์
 
 
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544