หน้าแรก ผลงานของนักวิชาการ
รศ.ดร. บรรเจิด สิงคะเนติ
11 เมษายน 2550 11:27 น.
 
ผลงานของนักวิชาการในสาขากฎหมายมหาชน/รศ.ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ
        
       คุณวุฒิ
              - Doctor der Rechte (Dr.jur.), Ruhr - Universitaet Bochum, Germany.
              
       ตำแหน่ง
              - อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
        
       บทความทางวิชาการ (บางส่วน)
       
  1. วิเคราะห์ปัญหาการแต่งตั้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญของไทยโดยอาศัยพื้นฐานทางทฤษฎีของเยอรมัน. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 28 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2541) หน้า 479 - 492.

  2.        
           
  3. วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญไทยเปรียบเทียบกับศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน.ในวารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2541) หน้า 76 - 99.

  4.        
           
  5. วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญไทยเปรียบเทียบกับศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน.ศาลรัฐธรรมนูญไทย อดีต ปัจจุบัน อนาคต. กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2543, หน้า 33 - 65.

  6.        
           
  7. วิเคราะห์ปัญหาเรื่องขอบเขตอำนาจศาลรัฐธรรมนูญจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ.ในวารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 17 ตอน 1 (เมษายน 2541) หน้า 157 - 166.

  8.        
           
  9. หลักประกันสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่. ในวารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 17 ตอน 2 (สิงหาคม 2542) หน้า 30 - 65.

  10.        
           
  11. หลักความได้สัดส่วนตามหลักกฎหมายของเยอรมันและฝรั่งเศส.ในวารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 1 เล่ม 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2542) หน้า 40 - 70.

  12.        
           
  13. เงื่อนไขการพิจารณาคดีปกครองเยอรมัน.ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2542) หน้า 277 - 299.

  14.        
           
  15. ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540.ในวารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 19 ตอน 1 (เมษายน 2543) หน้า 1 - 10.

  16.        
           
  17. ข้อพิจารณาเกี่ยวกับอำนาจฟ้องของหน่วยงานของรัฐในการฟ้องโต้แย้งคำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร.ในวารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 19 ตอน 1 (เมษายน 2543) หน้า 11 - 19.

  18.        
           
  19. กระบวนการรับฟ้องความคิดเห็นสาธารณะหรือกระบวนการกำหนดแผนงาน (das Plafeststellungsverfahren) ตามกฎหมายเยอรมัน. ในรพี 43, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, หน้า 86 - 96.

  20.        
           
  21. หลักการพื้นฐานของสิทธิและเสรีภาพ.ในนิติสยามปริทัศน์’ 43 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, หน้า 60 - 82.

  22.        
           
  23. ข้อพิจารณาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างศาลปกครองกับองค์กรตามรัฐธรรมนูญ. ใน www.pub-law.net, 16 เมษายน 2544.

  24.        
           
  25. บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ : ศึกษากรณีปัญหาความขัดแย้งเรื่อง เขตอำนาจศาลระหว่างศาลรัฐธรรมนูญกับศาลปกครอง. ใน www.pub-law.net, 28 พฤษภาคม 2544 และ 11 มิถุนายน 2544.

  26.        
           
  27. คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ของเยอรมัน: ศึกษากรณีการควบคุมความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย. ในวารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 3 เล่ม 7 (มกราคม - เมษายน 2544).

  28.        
           
  29. ปัญหาเรื่องการพิจารณาอุทธรณ์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.ใน www.pub-law.net, 1 มีนาคม 2545.

  30.        
           
  31. บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ: ศึกษากรณีปัญหาความขัดแย้งเรื่องเขตอำนาจศาลระหว่างศาลรัฐธรรมนูญกับศาลปกครอง. ในรวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2545.

  32.        
           
  33. การควบคุมและตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ.ในรวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2545.

  34.        
           
  35. ข้อพิจารณาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างศาลปกครองกับองค์กรตามรัฐธรรมนูญ.ใน www.pub-law.net, 16 เมษายน 2544.

  36.        
           
  37. วิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลปกครองกรณียกฟ้อง 3 ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (253/2545). ใน www.pub-law.net, 6 พฤษภาคม 2545.

  38.        
           
  39. เขตอำนาจศาลรัฐธรรมนูญตามมาตรา 264 และมาตรา 266(แต่งร่วมกับ รศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์).ในรวมบทความทางวิชาการของ ศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 1: ศาลรัฐธรรมนูญไทย.

  40.        
           
  41. สิทธิขั้นพื้นฐานทางสังคม.ในวารสารศาลรัฐธรรมนูญ ปีที่ 3 เล่ม 9 (กันยายน - ธันวาคม 2544).

  42.        
           
  43. ปัญหาขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ.ในวารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม/2544).

  44.        
           
  45. หลักการแสวงหาความจริงโดยศาล (Untersuchungsgrundsatz) ของรัฐธรรมนูญเยอรมัน.ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2545).

  46.        
           
  47. การฟ้องโต้แย้งคำสั่งทางปกครองตามกฎหมายเยอรมัน.ในอาจาริยบูชา รวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 72 ปี ศาสตราจารย์ ดร.อมร จันทรสมบูรณ์, สมาคมกฎหมายมหาชนแห่งประเทศไทย, 2545.

  48.        
           
  49. วิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลปกครอง เรื่อง ขอให้เพิกถอนมติที่ประชุมคณะกรรมการองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย เกี่ยวกับการตัดสายเชื่อมโยงข่ายโทรคมนาคม (คำสั่งที่ 645/2545).ใน www.pub-law.net, เผยแพร่วันที่ 15 กรกฎาคม 2545.

  50.        
           
  51. ข้อสังเกตจากคำชี้แจงของศาลปกครองสูงสุดและแนวคำ วินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ: กรณีที่มีปัญหาอำนาจหน้าที่ระหว่างคณะกรรมการการเลือกตั้งกับศาลปกครอง.ใน www.pub-law.net, เผยแพร่วันที่ 21 ตุลาคม 2545.

  52.        
           
  53. กระบวนการพิจารณาโครงการ (Planfestellungsnerfahren) ตามกฎหมายของเยอรมัน. ในวารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 20 ตอน 1, 2544.

  54.        
           
  55. ข้อพิจารณาเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540.ใน www.pub-law.net, เผยแพร่วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2546 และ 17 กุมภาพันธ์ 2546.

  56.        
           
  57. ทำไมพระราชกำหนดในการแปรสัญญาโทรคมนาคมจึงไม่เป็นไปตามมาตรา 218 วรรคหนึ่งของรัฐธรรมนูญ.ใน www.pub-law.net, 31 มีนาคม 2546.

  58.        
           
  59. หลักการแสวงหาความจริงโดยศาลในคดีปกครองของประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี.ในวารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2545).

  60.        
           
  61. สังคมประชาธิปไตยในวัย 71.ใน www.pub-law.net, 29 ธันวาคม 2544.

  62.        
           
  63. ความเสมอภาคในการสมัครสอบเพื่อเข้ารับราชการ.ใน www.pub-law.net, 9 กุมภาพันธ์ 2547.

  64.        
           
  65. สรุปการเสวนาทางวิชาการ "เสรีภาพในการชุมนุมตามรัฐธรรมนูญกับการสลายการชุมนุม. ใน www.pub-law.net, 22 มีนาคม 2547.

  66.        
           
  67. คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญและคำพิพากษาศาลปกครอง : กรณีสิทธิในการสมัครสอบ.ใน www.pub-law.net, 14 ตุลาคม 2548.

  68.        
           
  69. บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อ 2 เมษายน 2549 (คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 9/2549).ใน www.pub-law.net, 20 สิงหาคม 2549.

  70.        
           
  71. คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 52/2546 (เรื่องคณะกรรมการการเลือกตั้งขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัย ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 266 เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 145 วรรค 1 (3)).ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2547) หน้า 132 - 155.

  72.        
           
  73. บทวิเคราะห์คำสั่งศาลปกครองสูงสุดกรณีการฟ้องโต้แย้งหนังสือของกระทรวงการคลัง (คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ที่ 118/2544).ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 33 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2546) หน้า 831 - 845.

  74.        
           
  75. อำนาจฟ้องคดีปกครองของหน่วยงานของรัฐตามกฎหมายเยอรมัน.ในวารสารกฎหมายปกครอง ปีที่ 19 ตอนที่ 1 (เมษายน 2543) หน้า 235 - 236 และ รวมบทความทางวิชาการ เล่ม 3 กฎหมายปกครอง ภาควิธีสบัญญัติ และกฎหมายอื่นๆ. กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลปกครอง, 2548, หน้า 125 -

  76.        
           
  77. ปัญหาขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ.ในวารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2544) หน้า 1 - 49.

  78.        
           
  79. ข้อสังเกตจากคำวินิจฉัยของศาล ในคดีพิพาทเกี่ยวกับคำวินิจฉัยของคณะกรรมการการเลือกตั้ง.ในวารสารวิชาการศาลปกครอง ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2544) หน้า 154 - 169.       

  80.        
           
  81. คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน: ศึกษากรณีการควบคุมความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย.ในรวมบทความทางวิชาการของศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 2: ศาลรัฐธรรมนูญไทยในสถานการณ์ปฏิรูปการเมือง. กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2546, หน้า 23 - 50.

  82.        
           
  83. คำสั่งทางปกครองของเจ้าหน้าที่ตำรวจตามกฎหมายเยอรมัน.ในรวมบทความทางวิชาการ เล่ม 1 กฎหมายปกครอง ภาคสารบัญญัติ. กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลปกครอง, 2548, หน้า 76 - 78.

  84.        
           
  85. การควบคุมตรวจสอบองค์กรฝ่ายปกครองตามกฎหมายเยอรมัน.ในรวมบทความทางวิชาการ เล่ม 1 กฎหมายปกครอง ภาคสารบัญญัติ. กรุงเทพฯ : สำนักงานศาลปกครอง, 2548, หน้า 425 - 436.

  86.        
           
  87. ระยะเวลาในการฟ้องคดีปกครองตามกฎหมายเยอรมัน. ในรวมบทความทางวิชาการ เล่ม 3 กฎหมายปกครอง ภาควิธีสบัญญัติ และกฎหมายอื่นๆ. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลปกครอง, 2548, หน้า 181 - 192 .

  88.        
           
  89. หลักการแสวงหาความจริงโดยศาลในคดีปกครองของเยอรมัน.ในรวมบทความทางวิชาการ เล่ม 3 กฎหมายปกครอง ภาควิธีสบัญญัติ และกฎหมายอื่นๆ. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลปกครอง, 2548, หน้า 247 - 258.

  90.        
           
  91. การอุทธรณ์ในคดีปกครองของเยอรมัน. ในรวมบทความทางวิชาการ เล่ม 3 กฎหมายปกครอง ภาควิธีสบัญญัติ และกฎหมายอื่นๆ. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลปกครอง, 2548, หน้า 293 - 303.       

  92.        
           
  93. การบังคับคดีปกครองตามกฎหมายเยอรมัน.ในรวมบทความทางวิชาการ เล่ม 3 กฎหมายปกครอง ภาควิธีสบัญญัติ และกฎหมายอื่นๆ. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลปกครอง, 2548, หน้า 304 - 310.

  94.        
           
  95. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฤาเป็นเพียงสภาแห่งอาชีพ. ในจุลนิติ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (มีนาคม - เมษายน 2551) หน้า 209 - 211.

  96.        
           
  97. การตรวจความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่กระทบต่อสิทธิมนุษยชน. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2553) หน้า 33 - 56.

  98.        
           
  99. การใช้สิทธิทางศาลของบุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญมาตรา 28 ในกรณีที่ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้ว. ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2552) หน้า 225 - 252.

  100.        
           

       หนังสือ (บางส่วน)
       หมายเหตุ: การเปิดดูสารบัญนั้น ท่านจะต้องมีโปรแกรม Adobe Acrobat อยู่ในเครื่องของท่านด้วย หากยังไม่มี สามารถ Download ได้จากส่วนท้ายของหน้านี้
       

           
           
  1. หลักพื้นฐานสิทธิ เสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญใหม่.กรุงเทพ ฯ: วิญญูชน 2543.

  2.        
           
  3. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของทางราชการกับข้อพิจารณาทางกฎหมายปกครอง. กรุงเทพฯ: นิติธรรม 2543.

  4.        
           
  5. หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์. โครงการเฉลิมพระเกียรติสารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540, กรุงเทพฯ: องค์การค้าคุรุสภา, 2543.

  6.        
           
  7. หลักความเสมอภาค. โครงการเฉลิมพระเกียรติสารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540, กรุงเทพฯ: องค์การค้าคุรุสภา, 2543.

  8.        
           
  9. ศาลรัฐธรรมนูญ. โครงการเฉลิมพระเกียรติสารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540, กรุงเทพฯ: องค์การค้าคุรุสภา, 2543.

  10.        
           
  11. หลักพื้นฐานสิทธิ เสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญใหม่กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2543.

  12.        
           
  13. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญกรุงเทพฯ : วิญญูชน, 2544.

  14.        
           
  15. หลักความเสมอภาค. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2544.

  16.        
           
  17. หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2544.

  18.        
           
  19. เอกสารประกอบการพิจารณากฎหมายของสมาชิกรัฐสภา เล่มที่ 5 เรื่องพระราชบัญญัติประชาพิจารณ์: กรณีศึกษากระบวนการพิจารณาโครงการ (Planfestellungsnerfahren) ตามกฎหมายของประเทศเยอรมันนี.กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2545.

  20.        
           
  21. เอกสารประกอบการพิจารณากฎหมายของสมาชิกรัฐสภา เล่มที่ 6 เรื่องพระราชบัญญัติประชาพิจารณ์: ศึกษากรณีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (Enquête publique) ตามกฎหมายของประเทศฝรั่งเศส (แต่งร่วมกับสมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์). กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2545.       

  22.        
           
  23. ข้อพิจารณาเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540.

  24.        
           
  25. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคดีปกครองเยอรมัน.กรุงเทพฯ: โครงการตำราและวารสารนิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2547.

  26.        
           
  27. หลักพื้นฐานของสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2547.

  28.        
           
  29. ปฏิรูปการเมืองครั้งที่ 2 พรรคทางเลือกที่สามเพื่อการปฏิรูปการเมืองครั้งใหม่ตามแนวความคิดของ ศ.ดร.อมร จันทรสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2547.

  30.        
           
  31. รวมบทวิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญและคำสั่งของศาลปกครองกรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2547.

  32.        
           
  33. หลักกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครองกรุงเทพฯ: วิญญูชน, 2548 (พิมพ์ครั้งที่ 2).       

  34.        
           
  35. รายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์ เรื่องสิทธิและเสรีภาพ.กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2545.

  36.        
           
  37. รายงานการวิจัย เรื่องสิทธิและโอกาสทางการศึกษาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนากฎหมายการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี, 2545.

  38.        
           
  39. รายงานการวิจัย เรื่องการคุ้มครองชั่วคราวและการบังคับให้เป็นไปตามผลของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2548.

  40.        
           
  41. รายงานการวิจัย เรื่องกระบวนการพิจารณาโครงการ(PLANFESTSTELLUNGSVERFAHREN) ตามกฎหมายของเยอรมัน.กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2544.

  42.        
           
  43. บทวิเคราะห์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อ 2 เมษายน 2549 (คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 9/2549). รวมบทความกฎหมายมหาชนจากเว็บไซต์ www.pub-law.net เล่ม 6, กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2550, หน้า 131 - 153.

  44.        
           
  45. รายงานการวิจัยเรื่องการใช้สิทธิทางศาลของบุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญมาตรา 28 ในกรณีที่ศาลมีคำพิพากษาถึงที่สุดแล้ว. กรุงเทพฯ: มิสเตอร์ก๊อบปี้, 2551.

  46.        
           



 
 
ศ.ดร. นันทวัฒน์ บรมานันท์
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
ศ. ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์
รศ. ดร. วรพจน์ วิศรุตพิชญ์
ศ.ดร. วรเจตน์ ภาคีรัตน์
   
 
 
 
ศ.ดร. วรเจตน์ ภาคีรัตน์
ดร.ชาญชัย แสวงศักดิ์
ศ.ดร. นันทวัฒน์ บรมานันท์
ศ. ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
ศ. ดร.อมร จันทรสมบูรณ์
ศ. ชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์
ศ.ดร. สุรพล นิติไกรพจน์
รศ.ดร. โภคิน พลกุล
รศ. ดร. วรพจน์ วิศรุตพิชญ์
 
 
 
 
     

www.public-law.net ยินดีรับพิจารณาบทความด้านกฎหมายมหาชน โดยผู้สนใจสามารถส่งบทความผ่านทาง wmpublaw@public-law.net
ในรูปแบบของเอกสาร microsoft word (*.doc) เอกสาร text ข้อความล้วน (*.txt)ลิขสิทธิ์และความรับผิดตามกฎหมายของบทความที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านทาง www.public-law.net นั้นเป็นของผู้เขียน ขอสงวนสิทธิ์ในการนำบทความที่ได้รับการเผยแพร่ไปจัดพิมพ์รวมเล่มเพื่อแจกจ่ายให้กับผู้สนใจต่อไป ข้อมูลทั้งหมดที่ปรากฏใน website นี้ยังมิใช่ข้อมูลที่เป็นทางการ หากต้องการอ้างอิง โปรดตรวจสอบรายละเอียดจากแหล่งที่มาของข้อมูลนั้น

จำนวนผู้เข้าชมเวบ นับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2544